|
|
|
ราษฎรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 95 ประกอบอาชีพทำการเกษตร ได้แก่ ทำนา ทำไร่ ไร่มันสำปะหลัง ไร่ข้าวโพด ไร่แตงโม ที่เหลือประกอบอาชีพส่วนตัว และรับจ้างทั่วไป |
|
|
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลแม่เกิ๋ง ตั้งอยู่ในลักษณุภูมิประเทศที่บาบสลับภูเขา เป็นป่าเขา มีลำห้วยและแม่น้ำยมไหลผ่านโดย พื้นที่ภูเขา ประกอบด้วยทิวเขาเทือกเขาผีปันน้ำตะวันตก ซึ่งเป็นเทือกเขาที่ทอดเป็นแนวยางจากทิศเหนือ สู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้เรื่อยลงไปทางทิศใต้จนถึงอำเภอเถิน แนวสันเขานี้ใช้เป็นเขตแบ่งการปกครองระหว่างจังหวัดแพร่ กับ จังหวัดลำปาง จอดเขาสูงสุดมีความลาดชันโดยเฉลี่ยประมาณ 80 องศา และเนินเขาเล็กๆ โดยทั่วไปของตำบล พื้นที่ราบลุ่มแม่น้ำและที่ราบเชิงเขา กระจายอยู่ทั่วไประหว่างหุบเขา ได้แก่ ที่ราบลุ่มน้ำห้วยแม่เกิ๋งหลวง, ลำห้วยแม่เกิ๋งน้อย, ลำห้วยสลก, ลำห้วยหินแดงฯ เป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสมต่อการเกษตร |
|
|
|
|
|
|
ลักษณะภูมิอากาศของตำบลแม่เกิ๋ง แบ่งออกเป็น 3 ฤดูกาล คือ |

 |
ฤดูร้าน |

 |
ฤดูฝน |

 |
ฤดูหนาว |
|
|
|
|
|
|
|
|
|

 |
มีผู้นับถือศาสนาพุทธ |
จำนวน |
7 |
หมู่บ้าน |

 |
มีผู้นับถือศาสนาคริสต์ |
จำนวน |
1 |
หมู่บ้าน |

 |
มีวัด |
จำนวน |
5 |
แห่ง |

 |
มีสำนักสงฆ์ |
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
มีสถานปฏิบัติธรรม |
จำนวน |
2 |
แห่ง |
|
|
|
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม |
|
|
 |
|
|
|
ประเพณีและงานประจำปี |

 |
ประเพณีก๋ำบ้าน |

 |
ประเพณีเลี้ยงผีเจ้าบ้าน |

 |
ประเพณีเลี้ยงผีต้นน้ำ |

 |
ประเพณีบวชพระภิกษุ-สามเณร ภาคฤดูร้อน |
|
|
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น |

 |
ภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ การเป่าเพื่อการรักษาโรคต่างๆ การใช้สมุนไพรรักษาโรค |

 |
ภาษาถิ่นที่ใช้ในพื้นที่ตำบลแม่เกิ๋ง คือ ภาษาเหนือ ภาษากะเหรี่ยง ภาษากลาง |
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก |

 |
หน่อหวาย, ผ้าทอกะเหรี่ยง และสินค้าแปรรูปจากผ้าทอกะเหรี่ยง |
|
|
|
|
|
โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแพร่ เขต 2 จำนวน 4 แห่ง |

 |
โรงเรียนบ้านสลก |

 |
โรงเรียนบ้านแม่สิน |

 |
โรงเรียนค้างใจ |

 |
โรงเรียนสบป้าก |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลแม่เกิ๋ง จำนวน 1 แห่ง |

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลแม่เกิ๋ง |
|
|
|
|
|